การแต่งโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพเป็นคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปรากฏในวรรณคดีไทยมานานแล้ว วรรณคดีไทยฉบับที่เก่าและมีชื่อเสียงมากฉบับหนึ่งคือ "ลิลิตพระลอ"
มีโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งถูกยกมาเป็นบทต้นแบบที่แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับ ของโคลงสี่สุภาพ คือนอกจากจะมีบังคับสัมผัสตามที่ต่าง ๆ แล้ว ยังบังคับให้มีวรรณยุกต์เอกโทในบางตำแหน่งด้วย กล่าวคือ มีเอก 7 แห่ง และโท 4 แห่ง เรียกว่า เอกเจ็ดโทสี่
การประพันธ์โคลงสี่สุภาพการประพันธ์โคลงสี่สุภาพเป็นประณีตศิลป์ ที่ใช้ถ้อยคำตัวอักษรเป็นสื่อแสดงความคิดของผู้สรรค์สร้าง ซึ่งต้องการสะท้อนอารมณ์สะเทือนใจและก่อให้ผู้อ่านคล้อยตามไปด้วย ผู้อ่านต้องรับรู้ความงามด้วยใจโดยตรง ดังนั้นผู้สร้างสรรค์งานวรรณศิลป์จึงต้องช่างสังเกต รู้จักพินิจพิจารณามองเห็นจุดที่คนอื่นมองข้ามหรือคาดไม่ถึง และใช้ถ้อยคำ
ที่ละเมียดละไม ผลงานนั้นจึงจะทรงคุณค่า
เราต้องรู้อะไรกันบ้างในโคลงสี่สุภาพ1.1 บทหนึ่งมีกี่บาท1.2 บาทหนั่งมีกี่วรรค1.3 วรรคหนึ่งๆ มีกี่พยางค์1.4 บังคับสัมผัสตรงไหน1.5 บังคับรูปวรรณยุกต์ที่พยางค์ใด
ลักษณะโคลงสี่สุภาพคณะของโคลงสี่สุภาพ คือ บทหนึ่ง มี 4 บาท (เขียนเป็น 4 บรรทัด) 1 บาทแบ่งออกเป็น 2 วรรค โดยวรรคแรกกำหนดจำนวนคำไว้ 5 คำ ส่วนวรรคหลัง ในบาทที่ 1,2 และ 3
จะมี 2 คำ (ในบาทที่ 1 และ 3 อาจเพิ่มสร้อยได้อีกแห่งละ 2 คำ) ส่วนบาทที่ 4 วรรคที่ 2 จะมี 4 คำ รวมทั้งบท มี 30 คำ และเมื่อรวมสร้อยทั้งหมดอาจเพิ่มเป็น 34 คำส่วนที่บังคับ เอก โท (เอก 7 โท 4) ดังนี้บาทที่ 1 (บาทเอก) วรรคแรก คำที่ 4 เอก และคำที่ 5 โท
บาทที่ 2 (บาทโท) วรรคแรก คำที่ 2 เอก วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โทบาทที่ 3 (บาทตรี) วรรคแรก คำที่ 3 เอก วรรคหลัง คำที่ 2 เอกบาทที่ 4 (บาทจัตวา) วรรคแรก คำที่ 2 เอก คำที่ 5 โท วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โท
มีโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งถูกยกมาเป็นบทต้นแบบที่แต่งได้ถูกต้องตามลักษณะบังคับ ของโคลงสี่สุภาพ คือนอกจากจะมีบังคับสัมผัสตามที่ต่าง ๆ แล้ว ยังบังคับให้มีวรรณยุกต์เอกโทในบางตำแหน่งด้วย กล่าวคือ มีเอก 7 แห่ง และโท 4 แห่ง เรียกว่า เอกเจ็ดโทสี่
การประพันธ์โคลงสี่สุภาพการประพันธ์โคลงสี่สุภาพเป็นประณีตศิลป์ ที่ใช้ถ้อยคำตัวอักษรเป็นสื่อแสดงความคิดของผู้สรรค์สร้าง ซึ่งต้องการสะท้อนอารมณ์สะเทือนใจและก่อให้ผู้อ่านคล้อยตามไปด้วย ผู้อ่านต้องรับรู้ความงามด้วยใจโดยตรง ดังนั้นผู้สร้างสรรค์งานวรรณศิลป์จึงต้องช่างสังเกต รู้จักพินิจพิจารณามองเห็นจุดที่คนอื่นมองข้ามหรือคาดไม่ถึง และใช้ถ้อยคำ
ที่ละเมียดละไม ผลงานนั้นจึงจะทรงคุณค่า
เราต้องรู้อะไรกันบ้างในโคลงสี่สุภาพ1.1 บทหนึ่งมีกี่บาท1.2 บาทหนั่งมีกี่วรรค1.3 วรรคหนึ่งๆ มีกี่พยางค์1.4 บังคับสัมผัสตรงไหน1.5 บังคับรูปวรรณยุกต์ที่พยางค์ใด
ลักษณะโคลงสี่สุภาพคณะของโคลงสี่สุภาพ คือ บทหนึ่ง มี 4 บาท (เขียนเป็น 4 บรรทัด) 1 บาทแบ่งออกเป็น 2 วรรค โดยวรรคแรกกำหนดจำนวนคำไว้ 5 คำ ส่วนวรรคหลัง ในบาทที่ 1,2 และ 3
จะมี 2 คำ (ในบาทที่ 1 และ 3 อาจเพิ่มสร้อยได้อีกแห่งละ 2 คำ) ส่วนบาทที่ 4 วรรคที่ 2 จะมี 4 คำ รวมทั้งบท มี 30 คำ และเมื่อรวมสร้อยทั้งหมดอาจเพิ่มเป็น 34 คำส่วนที่บังคับ เอก โท (เอก 7 โท 4) ดังนี้บาทที่ 1 (บาทเอก) วรรคแรก คำที่ 4 เอก และคำที่ 5 โท
บาทที่ 2 (บาทโท) วรรคแรก คำที่ 2 เอก วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โทบาทที่ 3 (บาทตรี) วรรคแรก คำที่ 3 เอก วรรคหลัง คำที่ 2 เอกบาทที่ 4 (บาทจัตวา) วรรคแรก คำที่ 2 เอก คำที่ 5 โท วรรคหลัง คำแรก เอก คำที่ 2 โท
ตัวอย่างเสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอยเสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้าสองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ— ลิลิตพระลอ
เรื่อง รักษาธรรมชาติ..........ธรรมชาติช่วยแต่งแต้ม สีสันโลกหนอมีป่าเขาสูงชัน ย่อมรู้วอนทุกท่านให้หัน ช่วยรักษาแฮเพราะเพื่อช่วยกอบกู้ สิ่งใกล้เสียหาย
ฝั่งฝันเพียงคลื่นเคล้า เคลียคลอ
สาดซัดฟองลออ อุ่นเย้า
ทุกยามฝั่งคอยรอ รับคลื่น สาดนา
ไยคลื่นครวญเฉกเศร้า โศกล้นเหลือแสน๚
๏ โครมครามยามคลื่นม้วน สาดมา
เพียงกระทบหินผา ผกย้อน
อึกกระทึกหากหา เหตุเกิด ขึ้นนอ
เสียงคลื่นเงียบสะท้อน เหตุร้ายอาจมี
๏ อำนาจหากหดสิ้น สูญหาย
ชนย่อมเกิดเสียดาย เดือดร้อน
รวมพลก่อกวนหมาย คืนอำนาจนา
กวนคลื่นกระแสซ้อน ซ่อนใต้สายชล
เรื่อง รักษาธรรมชาติ..........ธรรมชาติช่วยแต่งแต้ม สีสันโลกหนอมีป่าเขาสูงชัน ย่อมรู้วอนทุกท่านให้หัน ช่วยรักษาแฮเพราะเพื่อช่วยกอบกู้ สิ่งใกล้เสียหาย
ฝั่งฝันเพียงคลื่นเคล้า เคลียคลอ
สาดซัดฟองลออ อุ่นเย้า
ทุกยามฝั่งคอยรอ รับคลื่น สาดนา
ไยคลื่นครวญเฉกเศร้า โศกล้นเหลือแสน๚
๏ โครมครามยามคลื่นม้วน สาดมา
เพียงกระทบหินผา ผกย้อน
อึกกระทึกหากหา เหตุเกิด ขึ้นนอ
เสียงคลื่นเงียบสะท้อน เหตุร้ายอาจมี
๏ อำนาจหากหดสิ้น สูญหาย
ชนย่อมเกิดเสียดาย เดือดร้อน
รวมพลก่อกวนหมาย คืนอำนาจนา
กวนคลื่นกระแสซ้อน ซ่อนใต้สายชล
GeT FuCk
ตอบลบกาก เกรียน อันใดเล่า พี่เอย
ตอบลบ